พันธุ์ไม้ป่าเมืองไทย

 

 

Go to previous version

 

ที่อยู่ติดต่อ :

หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.พญาไท

กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท์ 0-2218-5502-3

โทรสาร 0-2218-5502

e-mail Thaweesakdi.B@Chula.ac.th

 

Erycibe schmidtii Craib

วงศ์ CONVOLVULACEAE

      ไม้พุ่มรอเลื้อย ตามเปลือกกิ่งมีช่องอากาศ ผิวเกือบเกลี้ยง มีขนละเอียดปกคลุมแนบไปกับกิ่ง ใบรูปรีแกมรูปไข่ หรือรูปรีแกมขอบขนาน เนื้อใบหนาและเหนียว โคนใบรูปลิ่มกว้างถึงมน ปลายใบค่อนข้างแหลม เส้นแขนงใบ 8-10 คู่ ช่อดอกออกที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ แบบช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง กลีบเลี้ยงชั้นนอก 2 กลีบ รูปร่างเกือบกลม ผิวเกือบเกลี้ยง กลีบเลี้ยงชั้นใน รูปรี ผิวด้านนอกมีขนกำมะหยี่สีสนิมปกคลุมหนาแน่น ขอบกลีบมีขนครุยสั้น กลีบดอกสีขาวนวล แถบกลางกลีบด้านนอกมีขนคล้ายไหมปกคลุมหนาแน่น แฉกกลีบดอกรูปหัวใจกลับ ขอบกลีบหยักไม่เป็นระเบียบ อับเรณูรูปกรวย ปลายเรียวแหลมยาว รังไข่คล้ายทรงกระบอก ยอดเกสรเพศเมียแบบก้นปิด ผลรูปร่างกึ่งทรงกลม ผิวเกลี้ยง

      สำรวจพบครั้งแรกบริเวณคลองสน เกาะช้าง จ.ตราด และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์เมื่อ พ.ศ.2459 มีการกระจายพันธุ์ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ไทย เวียดนาม และทางใต้ของยูนนาน ประเทศจีน

ข้อมูลจาก Flora of China, vol 16.

ภาพถ่ายจากเกาะช้าัง จ.ตราด โดย ดร.ต่อศักดิ์ สีลานันท์.

     
    การประชุมทางพฤกษศาสตร์ระดับชาติและนานาชาติ
   

การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 2
26-28 มี.ค. 2551 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่:
อ.ดร.อมรรัตน์ ประจักษ์สูตร์
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร.043-342908 โทรสาร 043-364169 e-mail: amopra@kku.ac.th

   

การประชุมพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยครั้งที่ 14 - The 14th Flora of Thailand Meeting
18-21 สิงหาคม 2551 ณ โคเปนเฮเกน เดนมาร์ค
ข้อมูลเพิ่มเติม...

   

The Fourth International Conference: The Comparaive Biology of the Monocotyledons และ
The Fifth International Symposium: Grass Systematics and Evolution
11-15 สิงหาคม 2551 ณ โคเปนฮาเกน เดนมาร์ค
ข้อมูลเพิ่มเติม...

     

POLLENS IN COLOR: ของขวัญจากดอกไม้

เครือข่ายกล้วยไม้ไทย underconstruction

  • รายชื่อเอกสารผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกล้วยไม้ไทย

  • ทำเนียบนักวิจัยกล้วยไม้ไทย

  • ขอเชิญร่วมแจ้งข่าวงานการวิจัย พร้อมทั้งส่งเรื่องลงจดหมายข่าว

ดอกและส่วนประกอบของดอก

ส่วนประกอบและโครงสร้างทั้งภายนอกภายในดอกของไม้ดอกชนิดต่างๆ

พร้อมภาพประกอบสวยงาม โดย ดร.ชุมพล คุณวาสี

ผลแบบต่างๆ (เร็วๆนี้)

ผลผลิตจากการปฏิสนธิซ้อนของพืชดอก เติบโตขึ้นเป็นผลแบบต่างๆ

หลากหลายทั้งลักษณะ รูปร่างๆ และส่วนประกอบ

 

กระดานข่าวชาวพฤกษา

เวบบอร์ดสำหรับผู้ที่ศึกษาและสนใจความหลากหลายทางชีวภาพด้านพืช

เชิญแวะฝากข้อความและแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูล

ขอเชิญส่งและแลกเปลี่ยน link เข้าสู่โฮมเพจหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย

http://www.sc.chula.ac.th/thaiplants

โดยใช้แบนเนอร์ของหน่วยฯ หรือติดต่อทาง suchada_bcu@yahoo.com

     
 
     

 
 

 

จัดทำโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

PLANTS OF THAILAND RESEARCH UNIT,  DEPARTMENT OF BOTANY,  FACULTY OF SCIENCE,  CHULALONGKORN UNIVERSITY

last updated 1/11/2550