[หน้าแรก] [เนื้อหา]
ปฏิบัติการพันธุศาสตร์เรื่อง การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล
วัสดุอุปกรณ์ และ วิธีการการถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล ศึกษาจากแผนภาพและแผ่น CD (CAI) และทำการทดลอง
โดยนำฝักข้าวโพดที่แสดงผลการถ่ายทอดพันธุกรรม ที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างยีน ( gene interaction ) ตัวอย่างที่ใช้เป็นการแสดงออกชองยีนแบบข่มข้ามคู่ ( epistasis ) แบบต่างๆ มาศึกษาลักษณะภายนอก
นับจำนวนเมล็ดของลักษณะที่พบในแต่ละแถว บันทึก และหาอัตราส่วน เปรียบเทียบค่าจากการทดลองและค่าจากทฤษฎี โดยทำการทดสอบหาค่า x2 และค่า P ตามลำดับ เพื่อหาการแสดงออกของยีน 2 คู่ มีการข่มข้ามคู่แบบใด และสรุปผลการทดลอง
การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดลศึกษาจากแผนภาพและแผ่น CD (CAI) และทำก ารทดลอง โดยนำฝักข้าวโพดที่แสดงผลการถ่ายทอดพันธุกรรม ที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างยีน ( gene interaction )
ตัวอย่างที่ใช้เป็นการแสดงออกชองยีนแบบข่มข้ามคู่ ( epistasis ) แบบต่างๆ มาศึกษาลักษณะภายนอก นับจำนวนเมล็ดของลักษณะที่พบในแต่ละแถว บันทึก และหาอัตราส่วน เปรียบเทียบค่าจากการทดลองและค่าจากทฤษฎี โดยทำการทดสอบหาค่า x2 และค่า P ตามลำดับ เพื่อหาการแสดงออกของยีน 2 คู่ มีการข่มข้ามคู่แบบใด และสรุปผลการทดลอง
ผลการศึกษา การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดล
1 Epistasis (ฝักในข้าวโพดรหัส ........ 20........ )
 |
นำผลการทดลองมาเปรียบเทียบกับทฤษฎี (expected ratio = 9 : 7) โดยวิธี x2-test
x2 = 2.75 N = 1ได้ค่า P อยู่ระหว่าง 0.05-0.2 ซึ่งค่า P > 0.05
ค่า P ที่คำนวณได้มีค่า
(น้อยกว่าหรือมากกว่า) 0.05 แสดงว่า สรุปผล
_ยอมรับอย่างนัยสำคัญ _ไม่ยอมรับอย่างนัยสำคัญ
2 Epistasis (ฝักข้าวโพดรหัส ........ 18/26..........)
นำผลการทดลองมาเปรียบเทียบกับทฤษฎี (expected ratio = 9 : 3 : 4) โดยวิธี x2-test
=
.. =
..
N = 2ค่า P อยู่ระหว่าง
. ซึ่งค่า P ที่ได้อยู่ระหว่าง
ซึ่งค่า P
0.05 สรุปผล _ ยอมรับอย่างนัยสำคัญ _ ไม่ยอมรับอย่างนัยสำคัญ หมายเหตุ
: Expected ratio ของ ความแปรปรวนของลักษณะต่างๆ เมล็ดสีม่วง : เมล็ดสีแดง : เมล็ดไม่มีสี = 9 : 3 : 4
การแสดงออกของยีนเป็นการข่มข้ามคู่ แบบ Recessive epistasis โดยที่ aa ข่มข้ามคู่ต่อ B and b alleles (เช่นเดียวกับการเกิดสีขนแบบต่างๆในหนู
3 Epistasis (ฝักข้าวโพดรหัส ....16.....)
นำผลการเปรียบเทียบกับทฤษฎี (expected ratio = 12 : 3 : 1) โดยวิธี x2-test
 |
=
.. =
..
N = 2 ได้ค่า P อยู่ระหว่าง
. ซึ่งค่า P
0.05 ( < หรือ > ) สรุปผล _ ยอมรับอย่างนัยสำคัญ _ ไม่ยอมรับอย่างนัยสำคัญ
หมายเหตุ : Expected ratio ของลักษณะที่แตกต่างคือ
เมล็ดสีม่วง : เมล็ดสีเหลือง : เมล็ดสีขาว = 12 : 3 : 1
การแสดงออกของยีนเป็นการข่มข้ามคู่ แบบ Dominant epistasis วิจารณ์และสรุปผลการทดลอง
การถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎเมนเดลเนื่องจาก
..
..
......................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
รายละเอียดของภาพต่างๆ ที่ตั้งแสดงการถ่ายทอดพันธุกรรมที่ไม่เป็นไปตามกฎของเมนเดลมีดังนี้
ลักษณะที่ควบคุม Sex - limited gene
การถ่ายทอดลักษณะเฉพาะเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศคุมไว้หมด 1. Sex - limited of feathering in chickens
 |
Hen - feathered ลักษณะขนสั้นปลายมนตรง มียีน h+ ควบคุม Cock - feathered ลักษณะขนยาวปลายแหลมโค้งอยู่บริเวณคอและปลายหาง มียีน h ควบคุมในตัวเ
มียไม่มีการแสดงออกของลักษณะขนแบบ cock - feathered เลย ถึงแม้ว่าจะมี genotype เป็น hh ก็ตาม เฉพาะในตัวผู้เท่านั้นที่มี genotype เป็น hh จึงจะแสดงขนแบบ cock - feathered
ลักษณะที่ควบคุมโดย Sex - influenced gene ควบคุมด้วยยีนที่อยู่บน autosome มีการแสดงออกในเพศหนึ่งมากกว่าในอีกเพศหนึ่ง เนื่องจากอิทธิพ
ลของฮอร์โมน เช่น - ลักษณะเขาแกะ ควบคุมโดย Sex influenced ซึ่งเขาแกะตัวผู้จะใหญ่ม้วนและงอกว่าแกะตัวเมีย - ลักษณะศีรษะล้าน (Baldness in human)
b+ = ศีรษะล้าน b = ศีรษะปกติ
ทั้งชายและหญิงที่มี genotype เป็น b+/b พบว่า ในผู้ชายแสดงลักษณะศีรษะล้าน ส่วนในผู้หญิงไม่แสดงเลย เป็นผลมาจากอิทธิพลของฮอร์โมนในเพศหญิงไม่ให้ b+/b แสดงลักษณะศีรษะล้านออกมา
 |
 |
ลักษณะที่ควบคุมด้วย Sex - linked gene ลักษณะพันธุกรรมของ gene ที่มีอยู่บนโครโมโซม X เท่านั้น
- ลักษณะสีตาแมลงหวี่ถูกควบคุมด้วย sex - linked gene Homozygous red-eyed female x white eyed male Heterozygous female x red - eyed male
Heterozygous female x white - eyed male - โรคกล้ามเนื้อลีบ ควบคุมด้วย Sex - linked gene - สีขนของแมวสามสีเพศเมีย ถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซม X ส่วนที่เป็น x-linkage ซึ่งยีน o ให้สีส้ม แ
ละยีน e ให้สีดำ ส่วนที่เป็นสีส้ม และสีดำบนขนแมวเกิดจากโครโมโซม X inactivation - สีขนของแมวสามสีเพศเมีย มียีน O ให้สีส้ม และยีน o ให้สีดำ ส่วนที่เป็นสีส้มและสีดำบนขนแมวเกิดจาก โครโมโซม x inactivation
- ลักษณะตาของแมลงหวี่ ruit - fly eye color, a sex - linked แมลงหวี่มีตา 2 สีคือ ขาวและแดง R = red - eye allele
r = white - eye allele
แมลงหวี่ตัวผู้ ถ้าได้รับ Xr มาเพียง 1 ตัวก็สามารถแสดงลักษณะตาสีขาวได้ เนื่องจากมี X 1 ตัวกับ Y 1 ตัว แมลงหวี่ตัวเมีย ต้องได้รับ Xr 2 ตัว จึงจะสามารถแสดงลักษณะตาสีขาวได้ เนื่องจากเป็นยีนด้อย
Y - inheritance
ลักษณะขนที่หู (Hairy ear rims) อาจมีสาเหตุมาจากยีนบน chromosome Y Incomplete dominant ในม้า มี 3 ลักษณะคือ
A)Polomino horse, genotypeC/Ccr B)Cremello horse, genotypeCcr/Ccr C)Light chestnut (sorrel) horse, genotypeC/C
Polomino horse มี genotype C/Ccr ซึ่งถ้าตามกฎของเมนเดลแล้ว genotype C/Ccr น่าจะเป็น Light chestnut (sorrel) horse แต่ยีน C ไม่สามารถข่มยีน Ccr ลงหมดจึงกลายเป็น
Polomino horse
 |
จากแผนภาพเมื่อนำ F1 มาผสมกันเอง (R1R2 x R1R2) ให้ลูกซึ่งมี genotype 3 แบบคือ R1R1 ให้สีแดง, R1R2 ให้สีชมพู, R2R2 ให้สีขาว ซึ่งตามกฎของเมนเดลแล้ว ถ้า R1 เป็นลักษณะเด่
น ก็จะข่มลักษณะด้อ จากผล R1R2 น่าจะเป็นสีแดง แต่กลับเป็นสีขมพู แสดงว่าเกิดการข่มกันไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดสีที่เป็นสีกึ่งกลางระหว่างสีทั้งสอง คือสีชมพูนั่นเอง
Gene Interaction ลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย gene 2 คู่ (epistasis) หรือมากกว่า 2 คู่ (polygenes) เช่น - gene ควบคุม enzyme บน pathway เดียวกัน
- gene ควบคุม enzyme ต่าง pathway แต่มีผลจาก product หนึ่งไปมีผลต่ออีก product -phenotype ที่เห็นเป็นผลรวมของ product ของยีนที่มาต่าง pathway เช่น สีผลของพริก (พริกหวาน pepper)
สีเกิดจาก : 1. Anthocyanin ใน vacuole 2. Pigment อยู่ใน Plastid ได้แก่ Xanthophyll , Carotenoid , Chlorophyll เช่น
 |
สีของพริกหวานเกิดเนื่องจาก gene ที่ควบคุมมีหลายคู่ (polygenes) Polygenes -> gene ตั้งแต่ 2 คู่ขึ้นไปซึ่งอยู่คนละตำแหน่งมาทำงานร่วมกันเพื่อควบคุมลักษณะเดียวกัน
พริกหวาน (Pepper) สีเขียวมี genotyperr c1c1c2c2 yy (มี chlorophyll ไม่มี carotenoid)
สีแดงมี genotypeRR C1C1C2C2 YY สีน้ำตาลมี genotypeRR C1C1C2C2 yy (เป็นผลรวมของสีเขียวและแดง)
สีส้มมี genotypeRR C1C1c2c2 YY สีเหลืองอ่อนเกือบขาว มี genotype rr c1c1c2c2 YY
สีที่ควบคุมพริกหวานมี gene 4 ตำแหน่ง - phenotype ที่เห็นเป็นผลร่วมของการทำงานต่อเนื่องต่าง pathway
Corn Snake
- สีของลวดลายบนหนังงูควบคุมด้วยยีน 2 ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดสี คือ ยีน O ควบคุมการสร้างสีส้ม และยีน B ควบคุมการสร้างสีดำ
- เมื่องูมีทั้งยีน O และ B จะมีลวดลายทั้งสีส้มและสีดำ แต่หากมียีนเป็นแบบ oo จะไม่สามารถสร้างเม็ดสีสีส้มได้จึงมีลวดลายเป็นขาว-ดำ
- ในทำนองเดียวกัน ถ้างูมียีน bb จะไม่สามารถสร้างเม็ดสีดำได้จึงมีลวดลายสีส้ม - และหากทั้ง 2 ยีนเป็น Homozygous recessive (oobb) จะเป็นงูเผือก
-Phenotype ที่เห็นเป็นผลร่วมของการทำงานต่อเนื่องที่ได้จากต่าง pathway
ลักษณะสีขนของสุนัขพันธุ์ Labrador retrivers
1) สีดำ 2) สีน้ำตาล 3) สีทอง สีของสุนัขพันธุ์นี้ขึ้นอยู่กับการควบคุมด้วยยีน 2 ตำแหน่ง คือ อัลลีล B/b และ E/e
ยีน B/b ควบคุมการสร้างเม็ดสี (pigment) โดย B_ สร้างเม็ดสีสีดำและbbสร้างเม็ดสีสีน้ำตาล ยีน E/e ควบคุมการรวมตัวของเม็ดสีบนผิวหนัง โดยหากสุนัขมียีน ee จะไม่สามารถเกิดการรวมตัวของเม็
ดสีได้ ทำให้สุนัขมีขนสีทองไม่ว่าจะมีการสร้างเม็ดสีใด (มียีน B_ หรือ bb) ดังนั้น เป็น recessive epistasis เช่นเดียวกับลักษณะสีขนของหนู โดย สีดำ มี genotype B_ E_
สีน้ำตาล มี genotype bb E_ สีทอง มี genotype B_ ee หรือ bb ee
สีขนสุนัข (Labrador)
 |
Epistasis ลักษณะสีขนของหนู เป็นการแสดงออกแบบ recessive epistasis (Ratio 9 : 3 : 4)
a) Agouti a+/_ c+/_ b) Albino a+/_ c/cหรือa/ac/c c) Black a/a c+/_
Epistasis เป็นการทำงานร่วมกันของยีน 2 คู่ โดยยีนในตำแหน่งหนึ่งมีอิทธิพลต่อการแสดงออกของยีนอีกตำแหน่งหนึ่ง จากแผนภาพphenotype ratio = 9 agouti : 3 black : 4 albino
ยีนควบคุมสีขนหนูคือ a+ = agouti, a = black, c+ = สร้างเม็ดสี, c = ยับยั้งการสร้างเม็ดสี หนูที่มียีน c/c จะไม่สร้างเม็ดสี เป็นหนู albino
cc เป็น epistasis ต่อ a+ และ a นั่นคือเป็น recessive epistasis การแสดงออกแบบ recessive epistasis (9 : 3 : 4)
Agouti : Albino : Black
a+/_ c+/_a+/_ c/c or a/a c/c a/a c+/_ Fruit shape in summer squash 9 : 6 : 1
a)Long a/a b/b b)sphere A/_ b/b or a/a B/_ c)Disk A/_ B/_
เป็นการแสดงออกแบบ Duplicate interaction (9 : 6 : 1) a)Long a/ab/b (เป็น recessive)
b)sphere A/_b/b or a/aB/_ (มี Dominant ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง) c)Disk A/_B/_ (มี Dominant ทั้ง 2 ตำแหน่ง)
Long a/a b/b : Sphere A/_ b/b or a/a B/_ : Disk A/_ B/_
9 6 1
สีขนนกหงส์หยก phenotype
Green Blue (sky-blue) Yellow (black-eyed yellow) White Genotype
B_C_ bbC_ B_cc bbcc
Multiple alleles สีขนของกระต่ายที่มียีนควบคุมเป็น multiple alleles
คือ มี gene ที่อยู่บนตำแหน่งเดียวกันได้เกินกว่า 2 มีการแสดงออกของ gene เป็นแบบ complete dominance โดยมี gene ควบคุมเรียงลำดับ dominance ดังนี้ C+, Cch, Ch, c
C+ ขนสีwild type (agouti) Cch ขนสีเทาเงิน
Ch ขนสีขาว บริเวณปลายจมูก หู ขา และหางมีสีดำ ไวต่ออุณหภูมิ
c ขนสีขาวทั้งตัว
genotype ของกระด่ายดังนี้
1.Agouti C+C+, C+Cch, C+Ch, C+c 2.Chinchilla CchCch, CchCh, Cchc 3.Himalayan ChCh, Chc 4.Albino cc
ตัวอย่างแสดงสีขนของกระต่าย Himalayan ที่อุณหภูมิต่างๆ 1.ที่อุณหภูมิ > 30oC เป็นสีขาวทั้งตัว 2.ที่อุณหภูมิ 25oC เป็นกระต่าย Himalayan ปกติ ปลายจมูก หู ขา และหางมีสีดำ
3.ที่อุณหภูมิ < 25oC ลักษณะเหมือนกับข้อ 2 แต่มีจุดสีดำเป็นหย่อมๆบริเวณข้างลำตัวด้วย
การทำงานของยีน
|