ทำเนียบนักวิจัยกล้วยไม้ไทย และหัวข้องานที่สนใจ / กำลังดำเนินการ

 

 

ชื่อไทย

ชื่ออังกฤษ

ที่อยู่ติดต่อ

โทรศัพท์

e-mail

งานที่ทำอยู่

งานในอนาคต

Dr. Henrik Pedersen

Dr. Henrik Pedersen

Botanical Museum and Library, University of Copenhagen, Gothersgade 130

DK-1123 Copenhagen K

Denmark

 

henrikp@bot.ku.dk

ผู้ประสานงานการจัดทำวงศ์กล้วยไม้ สำหรับพรรณพฤกษชาติประเทศไทย (Flora of Thailand)

 

ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐ

Dr. Kitichate Sridith

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112

0 7428 8525

skiticha@ratree.psu.ac.th

Herbarium collection, living collection

ศึกษาทบทวนบางสกุลให้ Flora of Thailand

อ.ขนิษฐา ดวงสงค์

Mrs. Khanittha Duangsong

โครงการจัดตั้งศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290

0 5387 3065, 0 1366 8416

khanitta@mju.ac.th

-โครงการคืนชีวิตกล้วยไม้ไทยสู่ไพรพฤกษ์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ : เป็นงานรวบรวมพันธุ์และงานผลิตฝักสำหรับการขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด งานอนุบาลต้นอ่อน (ส่วนที่ทำคือ สำรวจนิเวศวิทยา รวบรวมพันธุ์ ขยายพันธุ์ งานอนุบาล และงานคืนสู่ป่า)

-โครงการสวนพฤกษศาสตร์กล้วยไม้ ร้อยปีสมเด็จย่า กำลังดำเนินการอยู่

-งานวิจัยกล้วยไม้เอื้องแซะหอม เพื่อสะกัดกลิ่นหอม

-โครงการสวนพฤกษศาสตร์กล้วยไม้ ร้อยปีสมเด็จย่า โดยรวบรวมพันธุ์กล้วยไม้ไทยพันธุ์แท้ และลูกผสม เพื่อเป็นแหล่งความรู้เรื่องกล้วยไม้ภาคเหนือ

-โครงการฝึกอบรมชุมชนที่สนใจปลูกกล้วยไม้ เพื่อจัดทำเป็น "หมู่บ้านกล้วยไม้ไทย"

รศ.ดร.ครรชิต ธรรมศิริ

Dr. Kanchit Thammasiri

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

0 2201 5232, 0 9132 7015

scktr@mahidol.ac.th

- การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้,

- การเก็บรักษาพันธุ์กล้วยไม้ไทยในสภาพ living collection และในไนโตรเจนเหลว

- การอนุรักษ์พันธุ์และขยายพันธุ์กล้วยไม้ไทย,

- การเก็บรักษาเชื้อพันธ์กล้วยไม้ไทยในไนโตรเจนเหลว,

- การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้โดยใช้กล้วยไม้ไทย

อ.จันทรารักษ์ โตวรานนท์

Mrs. Jantrararuk Tovaranonte

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ถ.พหลโยธิน ต.ท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100

0 5391 6776

jantrararuk@mfu.ac.th

-

1.ความหลากหลายทางชีวภาพและนิเวศวิทยาของกล้วยไม้ป่าในดอยผ้าห่มปก อุทยานแห่งชาติแม่ฝาง จ.เชียงใหม่

2.เส้นทางศึกษาธรรมชาติภายในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ผศ.จิตราพรรณ พิลึก

Asst.Prof. Chitrapan Piluek

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

0 2579 0308 ต่อ 116, 0 9130 1136

cpiluek@yahoo.com

-ศึกษาการเพาะเมล็ดและปลูกเลี้ยงต้นกล้ากล้วยไม้ป่า เช่น ลิ้นมังกร นางอั้วสาคริก Eulophia กล้วยไม้สกุลหวายชนิดต่างๆ

-ทำโครงการอนุรักษ์พันธ์กล้วยไม้ป่าเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน

การอนุรักษ์พันธ์กล้วยไม้ป่าโดยการเพาะเมล็ดและปลูกเลี้ยงต้นกล้า

ผศ.จิรายุพิน จันทรประสงค์

Asst.Prof. Chirayupin Chantaraprasong

413 ซอยอุเทน3 หมู่บ้านศรีนครพัฒนา1 ถนนนวมินทร์ (ซอย24) คลองกุ่ม บึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240

0 2374 1537

chkesya@yahoo.com

ตรวจชื่อกล้วยไม้ทั่วไป

ยังว่างอยู่ค่ะ ยินดีที่จะช่วยหากช่วยได้

นาย ฉัตรชัย เงินแสงสรวย

Mr. Chatchai Ngoensaengsruay

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

0 2940 5626

fsciccn@ku.ac.th

-

สนใจงานด้านอนุกรมวิธานพืช (กล้วยไม้) บางสกุล โดยเฉพาะกล้วยไม้ดิน

อ.ชลิต พงศ์ศุภสมิทธิ์

Mr. Chalit Pongsuppasamit

โครงการจัดตั้งศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290

0 5387 3378-9, 0 6189 2517

 

1.เก็บรวบรวมพันธุ์รองเท้านารีและกล้วยไม้ไทยพันธุ์ต่างๆ

2.สอนวิชากล้วยไม้

3.รับนักศึกษาทำปัญหาพิเศษเกี่ยวกับกล้วยไม้

4.ขยายพันธุ์รองเท้านารี โดยการทำ embryo culture

5.tissue culture กล้วยไม้

1.กำลังจะเปิดสอนวิชาการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุลรองเท้านารี (ปริญญาโท)

2.งานวิจัยเกี่ยวกับกล้วยไม้สกุล Phalaenopsis

ดร.ชุมพล วาสี

Dr. Chumpol Kunwasi

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ.พญาไท กรุงเทพฯ 10330

0 2218 5502-3

 

 

 

ดร.ต่อศักดิ์ สีลานันท์

Dr. Tosak Seelanan

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5502-3

tosak.s@chula.ac.th

 

 

ผศ.เตือนใจ โก้สกุล

Asst.Prof. Tuenjai Kosakul

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5485-6, 0 2218 5479

tuenchai@sc.chula.ac.th

-

นิเวศวิทยาและการอนุรักษ์

ดร.ทยา เจนจิตติกุล

Dr. Thaya Jenjittikul

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

0 22015232

sctjj@mahidol.ac.th

การอนุรักษ์กล้วยไม้ไทย

การศึกษาทางอนุกรมวิธานของกล้วยไม้บางสกุล เช่น Cleisostoma, Nervilia, Dendrobium บาง section (ร่วมกับ อ.จิรายุพิน)

Taxonomy

นาย ธิพล เรืองอักษร

Mr. Tipol Ruangaksorn

128/1 ม.9 หมู่บ้าน ส.ภาณุรังษี ซ.3 ถ.บางกรวย-ไทรน้อย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130

0 2422 1696

exoticbulbo@yahoo.com

ปลูกและศึกษาเกี่ยวกับกล้วยไม้ในสกุล Bulbophyllum และสกุลใกล้เคียง (Cirrhopetalum, Trias) รวมถึงกล้วยไม้บางสกุลในกลุ่ม Vandroid เช่น Cleisostoma และ Chilochista

ศึกษากล้วยไม้ในสกุล Bulbophyllum และสกุลใกล้เคียงให้ละเอียดขึ้นโดยมีโอกาสออกไปศึกษาถึงสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ และมีโอกาสที่จะศึกษาไม้ในสกุลอื่นเพิ่มเติม

อ.ธนุชา บุญจรัส Mr. Thanucha Boonjaras ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400   pytbj@mahidol.ac.th    
นางสาวนฤมล กฤษณชาญดี Miss Marumon Krisanachandee ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900        
อ.นันทิยา วัฒนภูติ Nantiya Vattanaput ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200        
ดร.ประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์ Dr. Prasit Wangpakapattawong ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50202 0 5394 3346 ต่อ 1113 หรือ 0 1568 5563 prasit.w@chiangmai.ac.th   นิเวศวิทยาของกล้วยไม้
นางปริญญนุช ดรุมาศ Mrs. Parinyanoot Darumas ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 0 2218 5502-3 parinyanoot.k@chula.ac.th    
ดร.พรศิลป์ ผลพันธิน Dr. Pornsil Polpantin ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา 90112        

ผศ.พัชรา ลิมปนะเวช

Asst.Prof. Patchara Limpanawet

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5485-6

patchra.l@chula.ac.th

-การเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เพื่อการเรียนการสอนวิชาการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

-งานวิจัยเพื่อศึกษาผลของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตกล้วยไม้สกุล Dendrobium

-ร่วมศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการถ่ายยีนเข้าสู่กล้วยไม้โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens

 

ดร.พัฒน ทวีโภค Dr. Pattana Thavipoke คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จ.นครปฐม 73170   enptv@mahidol.ac.th    

อ.พีระวุฒิ วงศ์สวัสดิ์

Mr. Pheravut Wongsawad

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200

0 5394 3346 ต่อ 1211, 0 6911 3309

scboi002@chiangmai.ac.th, pheravut@yahoo.com

- Molecular phylogeny of some orchid groups

- Tissue culture of some orchids

- Breeding in some orchids

- Inducement mutation

- Gene transformation

อ.มานพ แก้วกำเนิด Mr. Manop Kaewkumnerd โครงการจัดตั้งศูนย์กล้วยไม้และไม้ดอกไม้ประดับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290        

นาย ยรรยง พันธุ์พฤกษ์

Mr. Yanyong Panpruk

62/12 ซอยลาดพร้าว35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

0 1618 8160

cyyp01@yahoo.com

วิทยานิพนธ์ การขยายพันธุ์ Habenaria carnea N. Br.

เพาะ ขยายพันธุ์กล้วยไม้, รวบรวมพันธุ์

นางสาว วสีพร สาริกะภูติ

Miss Vasiporn Sarikaputi

15 ซอย 3 ถนนชวนะอุทิศ ต.วังใหม่ อ.เมือง จ.จันทบุรี

0 1903 6068

 

-เพาะกล้วยไม้ไทย ปล่อยเข้าป่าทดแทนและเสริมธรรมชาติ ได้แก่ เหลืองจันทบูร หวายแดงจันทบูร กุหลาบกระเป๋าเปิด เขาแกะ และไม้พันธุ์แท้อื่นๆ

-สมาชิกชมรมกล้วยไม้จันทบุรี

-อนุรักษ์พันธุ์ไม้ไทยแท้ปล่อยเข้าป่าตามภูมิภาคของไม้จันทบุรี

นางสาว วิไลลักษณ์ ช่วงวิวัฒน์

Miss Wilailuk Chuangwiwat

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ พระราชวังสวนจิตรลดา แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10303

0 2281 2912

 

-งานจัดเก็บข้อมูลพรรณไม้

-กำลังเรียนระบบฐานข้อมูลกล้วยไม้ป่า/กล้วยไม้จากการขยายพันธุ์แล้ว

เตรียมระบบฐานข้อมูลและการเผยแพร่ข้อมูล

อ.ศศิวิมล แสวงผล

Mrs. Sasivimol Swangpol

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

0 2201 5232

scssg@mahidol.ac.th

สะสมภาพวาดหมึก-สีน้ำของกล้วยไม้

ชักชวน แนะนำผู้สนใจการวาดภาพกล้วยไม้ เพื่อผลิตภาพและรวบรวมฝีมือคนไทยเป็นชุด เป็นเล่ม เท่าที่จะทำได้

นางสาว ศิริกุล เกษา

Miss Sirikul Kaesa

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ พระราชวังสวนจิตรลดา แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ

0 2282 0665

Dongdib05@rspg.or.th, sirikool.k@student.chula.ac.th

ทำเกี่ยวกับการขยายพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยนำพันธุ์ที่ได้จากการสำรวจในพื้นที่ของโครงการฯ ในรูปแบบของต้นพันธุ์ ฝัก ทำการขยายพันธุ์เพื่อปลูกรักษาไว้ในพื้นที่ของโครงการฯ เช่น ภายในหน่วยเพาะชำที่สวนจิตรลดา ซึ่งจะทำทะเบียนพันธุ์ทุกต้นที่ได้นำออกจากห้อง lab ไม้ป่า เช่น สิงโตสยาม สิงโตก้ามปูใหญ่ ม้าวิ่ง เอื้องดอกมะขาม ฯลฯ ปัญหาคือ การออกปลูกค่อนข้างลำบาก อัตราการตายสูง เพิ่งเริ่มทำได้ 2-3 ปี

ศึกษาเทคนิคการเก็บรักษาพันธุกรรมพืชฯ โดยวิธี Cryopreservation

ดร.สมราน สุดดี

Dr. Somran Suddee

หอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

0 2561 4292-3 ต่อ 925

s.suddee@dnp.go.th

-ศึกษากล้วยไม้ที่อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม จ.ชัยภูมิ

-ตรวจสอบชนิดและให้ข้อมูลเกี่ยวกับกล้วยไม้แก่เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช นิสิต นักศึกษา นักวิจัยและประชาชนทั่วไป

-ทำวิจัย subfamily Vanilloideae สำหรับโครงการพรรณพฤกษชาติประเทศไทย

-เกี่ยวกับการอนุรักษ์ ตรวจสอบชนิดที่มีความสวยงามและมีศักยภาพในการนำมาขยายพันธุ์เพื่อการค้า นำต้นมอบให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเลี้ยงเนื้อเยื่อขยายพันธุ์และนำกลับคืนสู่ธรรมชาติ

-ทำวิจัยด้านอนุกรมวิธานของกล้วยไม้ในกลุ่มอื่นๆ ต่อ

อ.สร้อยนภา ญาณวัฒน์

Mrs. Sroynapa Yannawat

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5503, 0 1636 7906

sroynapay@yahoo.com

วิทยานิพนธ์ : การตรวจตามและการบังคับการออกดอกของกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวาย

สรีรวิทยาการออกดอกของกล้วยไม้ป่า

ผศ.ดร.สรัญญา วัชโรทัย

Dr. Sranya Watcharodhaya

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

0 11702510, 0 2940 5626 ต่อ 120

fscisyv@ku.ac.th

ที่กำลังดำเนินการเป็นการศึกษาพรรณกล้วยไม้ป่าที่มีการนำมาจำหน่ายในตลาดนัดสวนจตุจักร เพื่อหาแนวทางในการนำมาขยายพันธุ์ และนำกลับสู่ธรรมชาติต่อไป

สรุป : เป็นงานทางด้านอนุกรมวิธาน

การรวบรวมข้อมูลพรรณกล้วยไม้ป่าในแหล่งต่างๆ ที่จะมีการศึกษาพรรณไม้ชนิดอื่นๆ ด้วย

สรุป : งานทางด้านอนุกรมวิธานและนิเวศวิทยา

นาย สลิล สิทธิสัจจธรรม Mr. Salil Sittisujjatham ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10330   slilmon@yahoo.com    

นาย สหัช จันทนาอรพินท์

Mr. Sahat Chantanaorapin

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5499

sahut.c@chula.ac.th

ความหลากหลายของกล้วยไม้อุทยานแห่งชาติน้ำตกห้วยยาง จ.ประจวบคีรีขันธ์

 

นาย สันติ วัฒฐานะ

Mr. Santi Watthana

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตู้ ปณ. 7 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

 

s_watthana@yahoo.com

กำลังศึกษาปริญญาเอกเรื่อง Ecology and Systematics of the genus Pomatocalpa

Orchid biology and conservation

อ.สาโรจน์ ประเสริฐศิริวัฒน์

Miss Saroj Pasertsiriwat

คณะพืชศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตจันทบุรี ต.พลวง กิ่งอำเภอเขาคิชกูฏ จ.จันทบุรี

0 3930 7012

saraprasert1985@hotmail.com

งานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ งานผลิตต้นกล้าเพื่อการอนุรักษ์ (เหลืองจันทบูรเป็นส่วนใหญ่ เพชรหึง กุหลาบกระเป๋าปิด หวายแดง เขาแกะ เขากวางอ่อน เอื้องดอกมะเขือ)

 

นางสาว สาวิตรี สระศรีรัตน์

Miss Sawitree Srasirat

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตู้ ปณ. 7 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

0 5329 8171-5 ต่อ 1329

sawitree_qsbg@yahoo.co.uk

-สำรวจเก็บตัวอย่าง ร่วมกับทีมนักพฤกษศาสตร์ขององค์การสนพฤกษศาสตร์

-โครงการวิจัยการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของนางอั้ว (Pecteilis susannae Rafin.) ทางภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้เทคนิค RAPD

-การอนุรักษ์กล้วยไม้ไทย

-การศึกษาทางพันธุศาสตร์ของกล้วยไม้

-การอนุรักษ์กล้วยไม้ไทย และ reintroduction program

นางสาว สุชาดา วงศ์ภาคำ

Miss Suchada Wongpakam

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5502-3

suchada_bcu@yahoo.com

-ร่วมสำรวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้ รวมถึงกลุ่มกล้วยไม้ในถิ่นอาศัยธรรมชาติกับคณาจารย์ในหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย

-ถ่ายภาพพรรณไม้และกล้วยไม้

-ทำโปสเตอร์และ presentation เสนอข้อมูลและผลงานวิจัยเกี่ยวกับความหลากหลายของพรรณไม้และกล้วยไม้

-สนใจการจัดทำ รวบรวม และเผยแพร่ข้อมูล (ฐานข้อมูล) เกี่ยวกับพรรณไม้และกล้วยไม้ไทย

-อนาคตจะมีการจัดทำ (ปรับปรุงและแก้ไข) ฐานข้อมูลกล้วยไม้ไทย ซึ่งเดิมจัดทำไว้แล้วโดยคณาจารย์จากพิพิธภัณฑ์พืช ศ.กสิน สุวตะพันธุ์ ให้มีรูปแบบ การเผยแพร่ และการสืบค้นที่ทันสมัยขึ้น

ดร.สุญาณี เวสสบุตร

Dr. Suyanee Vessabutr

สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตู้ ปณ. 7 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

0 5326 8332

vessabutr@yahoo.com

1.อนุรักษ์พันธุกรรมกล้วยไม้ไทย (general aspects) ส่วนใหญ่ของภาคเหนือ

1.1 living collection ~400 species

1.2 in vitro collection ~100 species

1.3 reintroduction to original habitats (แจ้ง list ให้ภายหลัง)

1. identify potential genes for

-fragrance

-resistant traits (to diseases etc.)

2. ปรับปรุงพันธุ์

นางสาว สุรางค์รัตน์ อินทมุสิก Miss Surangrat Intamusik สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตู้ ปณ. 7 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180        

ผศ.ดร.สุรียา ตันติวิวัฒน์

Dr. Sureeya Tantiwiwat

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

0 2940 5626 ต่อ 128

fscisyt@ku.ac.th

-เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเอื้องปากนกแก้ว Dendrobium cruentum Rchb.f.

-เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเอื้องเงิน... Dendrobium formosum Roxb.

-เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ดินบางชนิดของประเทศไทย เช่น กล้วยไม้สกุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) ทั้งด้านอนุรักษ์ ขยายพันธุ์ และผลิตเมล็ดเทียม รวมทั้ง Cryopreservation

-นิสิตปริญญาเอก สำรวจรวบรวมกล้วยไม้สกุลรองเท้านารีบริเวณพื้นที่รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก ขยายพันธุ์ และผลิตเมล็ดเทียม (เริ่ม มิ.ย. 47)

คุณสุวิทย์ ไทยนุกูล Mr. Suvit Thainukool สวนรวมพรรณไม้ สุไหง-ปาดี จ.นราธิวาส        

นาย หัสชัย บุญเนือง

Mr. Hassachai Boon-noeng

35/338 ม.7 ต.ลาดสวาย อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี 12150

0 1482 6885

hasachai@hotmail.com

-

-ถ่ายภาพกล้วยไม้ป่า

-เขียนและให้รายละเอียดเกี่ยวกับกล้วยไม้ในนิตยสารต่างๆ

รศ.ดร.อบฉันท์ ไทยทอง

Dr. Obchant Thaithong

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5502-3

 

อนุกรมวิธานกล้วยไม้

 

นางสาว อภิรดา สถาปัตยานนท์

Miss Apirada Satapattayanon

39/119 ซอยเรวดี ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี

0 2527 3660, 0 9204 8544

dao22nd@yahoo.com

-

ศึกษาทบทวนกล้วยไม้บางสกุลในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ ป.เอก)

นางสาว อมรรัตน์ บัวคล้าย

Miss Amornrat Bauklai

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

0 2218 5502

amonrat.b@student.chula.ac.th

-

ศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ในพื้นที่เขาเขียว อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ (วิทยานิพนธ์ ป.โท)

ผศ.ดร.อัจฉรา ธรรมถาวร Assoc.Prof.Dr.Ajchara Thamthavorn ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002 0 4324 1573  

-ด้านกายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบใน

1.กล้วยไม้ดินที่ภูเรือ โดยมีนักศึกษาปริญญาโท 1 คน พร้อมทั้งศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ 1-2 ชนิด

2.กลุ่ม Habenariinae

-ด้านเพาะเลี้ยง โดยผสมพันธุ์กล้วยไม้เอง เพาะเลี้ยง และนำออกขายที่อุทยานเกษตรของมหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อลดการนำกล้วยไม้ออกจากป่า ให้นักศึกษามีงานทำ และหารายได้เข้าศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์

 

อ.อุดม นวพานิชย์

Mr. Udom Nawapanich

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

0 2319 4358

 

โครงการอนุรักษ์กล้วยไม้ป่า

เก็บรวบรวมพันธุ์ ขยายพันธุ์ และอนุรักษ์พันธุ์กล้วยไม้ป่า

 

 

      

 

จัดทำโดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

PLANT OF THAILAND RESEARCH UNIT,  DEPARTMENT OF BOTANY,  FACULTY OF SCIENCE,  CHULALONGKORN UNIVERSITY

last updated 30/10/2547